มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตตลอดชีวิต การดำเนินกิจกรรมต่างๆ
ต้องอาศัยการสื่อสารเป็นปัจจัยหลัก
ดังนั้นการสื่อสารจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับครูผู้สอนหรือผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนการสอนความหมายของการสื่อสารการสื่อสารหมายถึง
กกระบวนการส่งข่าวสารข้อมูลต่างๆ หรือการถ่ายทอดความรู้ เนื้อหา สาระ ความรู้สึก
เจตคติ ทักษะจากผู้ส่งไปยังผู้รับด้วยการใช้ถ้อยคำ กริยาท่าทางหรือสัญลักษณ์
ซึ่งมีผลทำให้เกิดความเข้าใจและความรู้สึกร่วมกันหน้าที่ของกระบวนการสื่อสาร
1. การสื่อสารในฐานะเครื่องมือให้ได้สิ่งที่ต้องการ
2. การสื่อสารเพื่อควบคุมสั่งการ
3. การสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์
4. การสื่อสารส่วนบุคคล
5. การสื่อสารเพื่อเสาะแสวงหาคำตอบ
6. การสื่อสารเพื่อสร้างจินตนาการรูปแบบของการสื่อสารแต่ละรูปแบบมีลักษณะสลับซับซ้อนแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นลักษณะของผู้ส่งและผู้รับ การรู้จักเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสมกับแต่ละโอกาสจะช่วยให้กระบวนการสื่อสารแต่ละครั้งประสบผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพรูปแบบของการสื่อสารจำแนกได้ดังนี้
1. การจำแนกตามลักษณะของการสื่อสาร
1.1 การสื่อสารด้วยภาษา เป็นภาษาที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร
1.2 การสื่อสารด้วยภาษาท่าทางหรือสัญญาณ เป็นภาษาที่ไม่ใช่คำพูดหรือการเปล่งเสียงหรือเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
1.3 การสื่อสารด้วยภาษาภาพ ภาษาที่เกิดจากการขีดเขียนเป็นรูปภาพ
2. จำแนกตามปฏิสัมพันธ์ของผู้รับและผู้ส่ง
1. การสื่อสารในฐานะเครื่องมือให้ได้สิ่งที่ต้องการ
2. การสื่อสารเพื่อควบคุมสั่งการ
3. การสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์
4. การสื่อสารส่วนบุคคล
5. การสื่อสารเพื่อเสาะแสวงหาคำตอบ
6. การสื่อสารเพื่อสร้างจินตนาการรูปแบบของการสื่อสารแต่ละรูปแบบมีลักษณะสลับซับซ้อนแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นลักษณะของผู้ส่งและผู้รับ การรู้จักเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสมกับแต่ละโอกาสจะช่วยให้กระบวนการสื่อสารแต่ละครั้งประสบผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพรูปแบบของการสื่อสารจำแนกได้ดังนี้
1. การจำแนกตามลักษณะของการสื่อสาร
1.1 การสื่อสารด้วยภาษา เป็นภาษาที่ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร
1.2 การสื่อสารด้วยภาษาท่าทางหรือสัญญาณ เป็นภาษาที่ไม่ใช่คำพูดหรือการเปล่งเสียงหรือเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
1.3 การสื่อสารด้วยภาษาภาพ ภาษาที่เกิดจากการขีดเขียนเป็นรูปภาพ
2. จำแนกตามปฏิสัมพันธ์ของผู้รับและผู้ส่ง
2.1 สื่อสารทางตรง เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับมีปฏิสัมพันธ์กันและกันโดยตรงเนื้อหาและวัตถุประสงค์
2.2 การสื่อสารทางอ้อม เป็นการสื่อสารที่อาศัยสื่อหรือวิธีการต่างๆ เป็นพาหนะในการถ่ายทอดเนื้อหา
3. จำแนกตามพฤติกรรมในการโต้ตอบ
3.1 การสื่อสารทางเดียว เป็นสื่อสารที่ผู้ส่งเป็นกระทำแต่ฝ่ายเดียว
3.2 การสื่อสารสองทาง เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับมีโอกาสโต้ตอบกันได้ทันทวงที
4. จำแนกตามจำนวนของผู้ร่วมสื่อสาร
4.1 การสื่อสารในตนเอง ตัวเองเป็นผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน
4.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล สื่อสารระหว่างบุคคล 2 คน อาจแลกเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ส่งและผู้รับ
4.3 การสื่อสารแบบกลุ่มบุคคล มีจำนวนผู้ส่งและผู้รับมากกว่าการสื่อสารระหว่างบุคคล
4.4 การสื่อสารมวลชน การสื่อสารกับกลุ่มชนจำนวนมากกมายมหาศาลอุปสรรคในการสื่อสาร
1. ผู้ส่งสารขาดความสามารถ
2. ความบกพร่องของสื่อหรือช่องทาง
3. ผู้รับสารขาดความรู้ความชำนาญเรื่องที่จะรับ
4. อุปสรรคจากสิ่งรบกวน ภายนอกและภายใน
5. สารมีความยาวไม่เหมาะสม
6. ผู้ส่งและผู้รับมีความแตกต่างในด้านภาษาการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเป็นการสื่อสารแบบสองทางผู้ส่งและผู้รับสามารถโต้ตอบกันได้ทันทีทันใด เนื้อหาเรื่องราวต้องเหมาะกับธรรมชาติของผู้รับการสื่อสารกับการรับรู้และการเรียนรู้การรับรู้ สิ่งเร้าที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลายรับข้อมูลข่าวสารในระยะแรกนำเข้าสู่สมอง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมไปสู่ พฤติกรรมใหม่ ที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเรียกว่า การเรียนรู้แบบจำลองของการสื่อสาร
1. แบบจำลองของลาสเวลล์
2. แบบจำลองของแวนนอนและวีเวอร์
3. แบบจำลองของ-เบอร์โล
4. แบบจำลองการสื่อสารของบาร์นลันด์การสื่อสารในการเรียนการสอนควรคำนึงถึงกระบวนการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอน
1. กระบวนการสื่อสารในการเรียนการสอน เป็นรูปแบบของการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนหรือสื่ออื่นๆ
2. ลักษณะการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน
3. การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
4. ความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอน
บทสรุป
การสื่อสารกระบวนการถ่ายทอดเนื้อหาและความรู้สึกนึกคิดประกอบด้วย ผู้ส่งเนื้อหา สาระ สื่อหรือช่องทางและผู้รับการสื่อสารมีความสัมพันธ์กับการรับรู้และการเรียนรู้ มีจุดประสงค์และกระบวนการเหมือนกัน
2.2 การสื่อสารทางอ้อม เป็นการสื่อสารที่อาศัยสื่อหรือวิธีการต่างๆ เป็นพาหนะในการถ่ายทอดเนื้อหา
3. จำแนกตามพฤติกรรมในการโต้ตอบ
3.1 การสื่อสารทางเดียว เป็นสื่อสารที่ผู้ส่งเป็นกระทำแต่ฝ่ายเดียว
3.2 การสื่อสารสองทาง เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับมีโอกาสโต้ตอบกันได้ทันทวงที
4. จำแนกตามจำนวนของผู้ร่วมสื่อสาร
4.1 การสื่อสารในตนเอง ตัวเองเป็นผู้ส่งและผู้รับในขณะเดียวกัน
4.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล สื่อสารระหว่างบุคคล 2 คน อาจแลกเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ส่งและผู้รับ
4.3 การสื่อสารแบบกลุ่มบุคคล มีจำนวนผู้ส่งและผู้รับมากกว่าการสื่อสารระหว่างบุคคล
4.4 การสื่อสารมวลชน การสื่อสารกับกลุ่มชนจำนวนมากกมายมหาศาลอุปสรรคในการสื่อสาร
1. ผู้ส่งสารขาดความสามารถ
2. ความบกพร่องของสื่อหรือช่องทาง
3. ผู้รับสารขาดความรู้ความชำนาญเรื่องที่จะรับ
4. อุปสรรคจากสิ่งรบกวน ภายนอกและภายใน
5. สารมีความยาวไม่เหมาะสม
6. ผู้ส่งและผู้รับมีความแตกต่างในด้านภาษาการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเป็นการสื่อสารแบบสองทางผู้ส่งและผู้รับสามารถโต้ตอบกันได้ทันทีทันใด เนื้อหาเรื่องราวต้องเหมาะกับธรรมชาติของผู้รับการสื่อสารกับการรับรู้และการเรียนรู้การรับรู้ สิ่งเร้าที่ผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลายรับข้อมูลข่าวสารในระยะแรกนำเข้าสู่สมอง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมไปสู่ พฤติกรรมใหม่ ที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเรียกว่า การเรียนรู้แบบจำลองของการสื่อสาร
1. แบบจำลองของลาสเวลล์
2. แบบจำลองของแวนนอนและวีเวอร์
3. แบบจำลองของ-เบอร์โล
4. แบบจำลองการสื่อสารของบาร์นลันด์การสื่อสารในการเรียนการสอนควรคำนึงถึงกระบวนการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอน
1. กระบวนการสื่อสารในการเรียนการสอน เป็นรูปแบบของการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนหรือสื่ออื่นๆ
2. ลักษณะการสื่อสารระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน
3. การปรับใช้การสื่อสารกับกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
4. ความล้มเหลวของการสื่อสารในกระบวนการเรียนการสอน
บทสรุป
การสื่อสารกระบวนการถ่ายทอดเนื้อหาและความรู้สึกนึกคิดประกอบด้วย ผู้ส่งเนื้อหา สาระ สื่อหรือช่องทางและผู้รับการสื่อสารมีความสัมพันธ์กับการรับรู้และการเรียนรู้ มีจุดประสงค์และกระบวนการเหมือนกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น